ภูมิปัญญา ไทย ด้าน เกษตรกรรม ประโยชน์ | ภูมิปัญญา – ความเป็นไทย

Fri, 24 Dec 2021 15:22:38 +0000

พิธีลอยเคราะห์ คนภาคใต้มีความเชื่อตามศาสนาพราหมณ์ว่า คนทุกคนมีช่วงเวลาที่ดาวพระเคราะห์มาเสวยอายุ ยามใดที่ดาวพระเคราะห์มาเสวยอายุก็จะเกิดโทษกับผู้นั้น อาจจะเจ็บไข้ได้ป่วย หรือมีเหตุการณ์ร้ายๆ มากระทบต่อการดาเนินชีวิตของตัวเองและญาติมิตร ดังนั้นจึงนิยมลอยเคราะห์เพื่อให้ตนพ้นจากเคราะห์กรรมนั้น ด้วยการนาต้นกล้วยมาทาเป็นแพ แล้วเอาผม เล็บ ขี้ไคล รวมทั้งดอกไม้ ธูปเทียน ใส่ในแพลอยน้ำไป ๕.

ภูมิปัญญา – ความเป็นไทย

  • บริษัท โตโยต้า ลีสซิ่ง (ประเทศไทย) จำกัด | ไทยแลนด์ เยลโล่เพจเจส
  • 2.3 ประเภทของภูมิปัญญาท้องถิ่น - Aunpanya34
  • หัว อัด จาร บี m10 มือสอง
  • ภูมิปัญญาไทย

ประเภทที่ใช้ในการผลิตอาหาร เช่น เห็ดชนิดต่างๆ 2. ประเภทที่ใช้ในการแปรรูปผลผลิต เช่น ยีสต์ เชื้อรา ฯลฯ 3. ประเภทที่ใช้ในการปรับปรุงดิน เช่น ไรโซเบียม ไมโคไรซ่า ฯลฯ 4. ประเภทที่ใช้ในการป้องกันกำจัดศัตรูพืช เช่น เชื้อ bacillus thuringieneses, เชื้อไวรัส NPV Nuclelar Polyhedrosis Virus, เชื้อรา Entomophthora grylli เป็นต้น 5.

ภูมิปัญญาไทย: ประเภทของภูมิปัญญา

การปลูกสร้างบ้านเรือน จะมีลักษณะแตกต่างจากภาคอื่นๆ คือ - ชาวใต้นิยมแผ้วถางพื้นที่บริเวณบ้านให้เตียนเรียบจนเห็นเป็นพื้นทรายขาวสะอาด มีเหตุผลด้านสภาพแวดล้อมคือ การเดินเข้าออกสะดวก ปลอดภัยจากสัตว์ร้าย เช่น งู ตะขาบ แมงป่อง ที่มีอยู่อย่างชุกชุม - บ้านเรือนมีหลังคาเตี้ยลาดชัน ยกพื้นสูง และไม่ฝังเสาลงดิน แต่จะวางอยู่บนตีนเสาที่เป็นก้อนหิน ไม้เนื้อแข็ง หรือ แท่งซีเมนต์หล่อ เนื่องจากฝนตกชุก ทำให้ดินอ่อนตัว โอกาสที่เสาจะทรุดตัวมีได้มาก นอกจากนี้แล้วยังเป็นการป้องกันปลวกและเชื้อรากัดกิน - ไม่ปลูกบ้านขวางตะวัน นิยมปลูกหันหน้าไปในแนวเหนือใต้ เพื่อหลบแสงแดดที่จะส่องเข้าบ้าน 4.

ภูมิปัญญาท้องถิ่น กับการใช้จุลินทรีย์ ในการเกษตรอินทรีย์ - Chiang Mai News

1 ผ้าพื้นเมือง โดยเฉพาะผ้าไหม มีชื่อเสียงในด้านลวดลายสวยงามและมีคุณภาพ เช่น ผ้าไหมมัดหมี่ จังหวัดขอนแก่น ผ้าไหมแพรวา จังหวัดกาฬสินธุ์ และหมอนขวานผ้าขิด จังหวัด ยโสธร เป็นต้น 2. 2 ลำกลอน ผู้ที่ร้องลำกลอน เรียกว่า " หมอลำ " เป็นผู้นำทางความคิดของผู้คน ในท้องถิ่นโดยจะร้องลำกลอนที่มีเนื้อหาสะท้อนภาพความเป็นจริงของสังคม เช่น การกดขี่ ของเจ้าหน้าที่ ความยากจนของราษฎร ฯลฯ หรือสังคมที่ดีงามในอุดมคติ เช่น ความเจริญของท้องถิ่น และความอยู่ดีกินดีของราษฎร เป็นต้น 2. 3 บทเพลงเจรียงเบริญ เป็นการละเล่นที่ดัดแปลงมาจากการขับร้องแบบดั้งเดิมของ ชาวไทยเชื้อสายเขมรในแถบอีสานใต้ มีลักษณะเป็นเพลงร้องโต้ตอบ เน้นความไพเราะของภาษา ทำนอง และน้ำเสียงที่ใช้ขับร้อง นิยมนำมาแสดงในงานประเพณีและงานศพ ของชาวไทยเชื้อสายเขมร โดยเฉพาะที่จังหวัดสุรินทร์ บทเพลงเจรียงเบริญ แสดงถึงภูมิปัญญาของชาวอีสานใต้เชื้อสายเขมรหลายประการ เช่น เน้น ความสามัคคีในชุมชน การสืบทอดประเพณีดั้งเดิมของบรรพบุรุษและหน้าที่ของบุตรที่พึงปฏิบัติต่อ บิดามารดา ตลอดจนการผสมผสานความเชื่อระหว่างศาสนาพุทธ พราหมณ์ และภูติวิญญาณ เป็นต้น ภูมิปัญญาท้องถิ่นของภาคกลาง ภูมิปัญญาท้องถิ่นของภาคกลาง มีดังนี้ 3.

ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เช่น การบวชป่า การสืบชะตาแม่น้ำ การอนุรักษ์ป่าชายเลน 5. ด้านกองทุนและธุรกิจชุมชน เช่น ผู้นำในการจัดการกองทุนของชุมชน ผู้นำในการจัดตั้งกองทุนสวัสดิการรักษาพยาบาล ผู้นำในการจัดระบบสวัสดิการ บริการชุมชน เป็นต้น 6. ด้านศิลปกรรม เช่น วาดภาพ(กิจกรรม) การปั้น (ประติมากรรม) นาฎศิลป์ ดนตรี การแสดง การละเล่นพื้นบ้าน นันทนาการ เป็นต้น 7. ด้านภาษาและวรรณกรรม เช่น ความสามารถในการอนุรักษ์ และสร้างผลงานด้านภาษา วรรณกรรมท้องถิ่น การจัดทำสารานุกรมภาษา หนังสือโบราณ การฟื้นฟู การเรียนการสอนภาษาถิ่นของท้องถิ่นต่าง ๆ เป็นต้น 8. ด้านปรัชญา ศาสนา และประเพณี เช่น ความสามารถประยุกต์และปรับใช้หลักธรรมคำสอนทางศาสนา ปรัชญาความเชื่อ และประเพณีที่มีคุณค่าให้เหมาะสมต่อบริบททางเศรษฐกิจ สังคม การถ่ายทอดวรรณกรรม คำสอน การประยุกต์ประเพณีบุญ เป็นต้น 9. ด้านโภชนาการ เช่น ความสามารถในการเลือกสรร ประดิษฐ์ และปรุงแต่งอาหารและยา ได้เหมาะสมกับความต้องการของร่างกายในสภาวการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนผลิตเป็นสินค้าบริการส่งออกที่ได้รับความนิยมแพร่หลายมาก เป็นต้น 10. ด้านองค์กรชุมชน เช่น ร้านค้าชุมชน ศูนย์สาธิตการตลาด กลุ่มออมทรัพย์องค์กรด้านการตัดเย็บเสื้อผ้า กลุ่มจักรสาน กลุ่มทอผ้า กลุ่มทอเสื่อ กลุ่มตีมีด ตีขวาน เครื่องมือที่ทำจากเหล็ก กองทุนสวัสดิการชุมชน การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ เป็นต้น จากการแบ่งประเภทของภูมิปัญญาท้องถิ่นที่นักการศึกษา และหน่วยงานต่าง ๆ ได้กล่าวมาสรุปได้ว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่นสามารถแบ่งตามลักษณะของคนในท้องถิ่นหรือชุมชนได้คิดหรือ ได้รับการถ่ายทอดและถือปฏิบัติสืบต่อกันมาจากบรรพบุรุษ ซึ่งเกิดจากความเชื่อ ความรู้สึก ความนึกคิด ในการสร้างสรรค์แบบแผนของการดำเนินชีวิต รวมถึงการนำเทคโนโลยีพื้นบ้านมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไป

ด้านเกษตรกรรม | สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์

ดร. วีระพงษ์ แสง-ชูโต ที่มา

การสร้างสรรค์และปรับปรุง ระบบความรู้ของชาวบ้านไม่ได้หยุดนิ่งอยู่กับที่แต่ถูกปรับเปลี่ยน ตลอดมา โดยอาศัยประสบการณ์ของชาวบ้านเอง เรายังขาดการศึกษาว่าชาวบ้านปรับเปลี่ยนความรู้ และระบบความรู้เพื่อเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงอย่างไร ประเภทของภูมิปัญญา 1. คติ ความคิด ความเชื่อ และหลักการ เป็นพื้นฐานขององค์ความรู้ ที่ถ่ายทอดกันมา 2. ศิลปะ วัฒนธรรม และขนบธรรมเนียม ประเพณีที่เป็นแบบแผนของการดำเนินชีวิตที่ปฏิบัติ สืบทอดกันมา 3. การประกอบอาชีพในแต่ละท้องถิ่นที่ได้รับการพัฒนาให้เหมาะสมกับกาลสมัย 4. แนวคิดหลักปฏิบัติแลเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่ชาวบ้านนำมาใช้ในชุมชนเป็นอิทธิพล ของความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้แบ่งประเภทของภูมิปัญญาท้องถิ่นไว้ 10 กลุ่ม ดังนี้ ได้แบ่งประเภทของภูมิปัญญาท้องถิ่นไว้ 10 กลุ่ม ดังนี้ 1. ด้านเกษตรกรรม เช่น การเพาะปลูก การขยายพันธ์ การเลี้ยงสัตว์ การเกษตรผสมผสาน การทำไร่นาสวนผสม การปรับใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับการเกษตร เป็นต้น 2. ด้านอุตสาหกรรมและหัตถกรรม เช่น การจัดสาน ทอ การช่าง การทอผ้า การแกะสลัก เป็นต้น 3. ด้านการแพทย์แผนไทย เช่น หมอสมุนไพร หมอยากลางบ้าน หมอนวดแผนโบราณ หมอยาหม้อ 4.

ปราชญ์เกษตรผู้ทรงภูมิปัญญาและมีคุณูปการต่อภาคการเกษตรไทย | ปราชญ์เกษตรของแผ่นดิน : ปราชญ์เกษตรผู้ทรงภูมิปัญญาและมีคุณูปการต่อภาคการเกษตรไทย

รวม เพลง fifty shades darker

สาขาเกษตรกรรม 2. สาขาอุตสาหกรรมและหัตถกรรม 3. สาขาการแพทย์แผนไทย 4. สาขาการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม 5. สาขากองทุนและธุรกิจชุมชน 6. สาขาสวัสดิการ 7. สาขาศิลปกรรม 8. สาขาการจัดการ 9. สาขาภาษาและวรรณกรรม 10.

ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ ความสามารถเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทั้งการอนุรัษ์ พัฒนา และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยังยื่น เช่น การบวชป่า สืบชะตาแม่น้ำ การทำแนวปะการังเทียม การอนุรักษ์ป่าชายเลน ทำแนวประการังเทียม อนุรักษ์ป่าชายเลน 6. ด้าน ศิลปกรรม ได้แก่ ความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะสาขาต่างๆ เช่น จิตรกรรม ประติมากรรม นาฏศิลป์ ดนตรี ทัศนศิลป์ คีตศิลป์ การละเล่นพื้นบ้าน และนันทนาการ ซึ่งแต่ละภาคจะมีการสร้างสรรค์ศิลปะพื้นบ้านที่แตกต่างกัน เช่น การแข่งตีกลองของภาคเหนือ การร้องอีแซวของภาคกลาง หมอลำของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การรำมโนราห์ของภาคใต้ หมอลำของภาคอีสาน การร้องเพลงอีแซวของภาคกลาง การรำมโนราห์ของภาคใต้ การแข่งตีกลองภาคเหนือ 7. ด้านภาษาและวรรณกรรม ในแต่ละภาคจะภาษาถิ่นแตกต่างกัน เช่น ดอกไม้บานไม่รู้โรย ภาษ าถิ่นเหนือเรียกว่า ดอกตะล่อม ภาษาอีสานเรียกว่า ดอกสามปีบ่เหนี่ยว ภาษาถิ่นใต้เรียกว่า ดอกกุนหยี ซึ่งการอนุรักษ์ภูมิปัญญาด้านภาษาและวรรณกรรมทำได้หลายวิธี เช่น การจัดทำสารานุกรมภาษถิ่น การปริวรรตหนังสือโบราณ การฟื้นฟูการเรียนการสอนภาษาถิ่นของท้องถิ่นต่างๆ รวมถึงการอนุรักษ์วรรณกรรมท้องถิ่น เช่น ขุนช้างขุนแผน ไกรทอง วรรณกรรม ไกรทอง ย้อนกลับ ถัดไป

พระ กริ่ง เจ้าคุณ ศรี สน ธิ์ ปี 2491 ราคา ท ราคาทองคำแท่ง ฮั่ ว เซ่ง เฮง